วันจันทร์ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2555


Computer Architecture
ความหมาย
       หมายถึง ระบบโครงสร้าง อุปกรณ์ หรือส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ในบางกรณี อาจหมายถึงการออกแบบระบบการสื่อสารติดต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ด้วยกัน ว่ากันว่า บริษัทไอบีเอ็มมีการออกแบบโครงสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เข้าใจง่ายกว่ายี่ห้ออื่น ทำให้มีการสร้างเครื่องเลียนแบบ (compatibles) ไอบีเอ็มขายเต็มตลาดได้ในขณะนี้


computer organization

ความหมาย
       ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ต้องมีองค์ประกอบ 3 ประการ คือ 1. ฮาร์ดแวร์ (hardware) หมายถึง ส่วนตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ 2. ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึงโปรแกรมต่าง ๆหรือชุดคำสั่งทั่เครื่องสั่งให้ทำงานตามความประสงค์ 3. บุคลากรคอมพิวเตอร์ (peopleware) หมายถึงแรงงานบุคคลที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานจนบรรลุผลตามวัตถุประสงค์


 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ จนถึงปัจจุบัน
 http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/index01_h1.gif
         อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2488 ถึง พ.ศ. 2501 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้หลอดสุญญากาศซึ่งใช้กำลังไฟฟ้าสูง จึงมีปัญหาเรื่องความร้อนและไส้หลอดขาดบ่อย ถึงแม้จะมีระบบระบายความร้อนที่ดีมาก การสั่งงานใช้ภาษาเครื่องซึ่งเป็นรหัสตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน เครื่องคอมพิวเตอร์ของยุคนี้มีขนาดใหญ่โต เช่น มาร์ค วัน (MARK I), อีนิแอค (ENIAC), ยูนิแวค (UNIVAC)
http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/mark1.gif
มาร์ค วัน
http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/eniac.gif
อีนิแอค
http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/univac.gif

 

ยูนิแวค
http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/index01_h2.gif
       คอมพิวเตอร์ยุคที่สอง อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2502 ถึง พ.ศ. 2506 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ทรานซิสเตอร์ โดยมีแกนเฟอร์ไรท์เป็นหน่วยความจำ มีอุปกรณ์เก็บข้อมูลสำรองในรูปของสื่อบันทึกแม่เหล็ก เช่น จานแม่เหล็ก ส่วนทางด้านซอฟต์แวร์ก็มีการพัฒนาดีขึ้น โดยสามารถเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงซึ่งเป็นภาษาที่เขียนเป็นประโยคที่คนสามารถเข้าใจได้ เช่น ภาษาฟอร์แทน ภาษาโคบอล เป็นต้น ภาษาระดับสูงนี้ได้มีการพัฒนาและใช้งานมาจนถึงปัจจุบัน

http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/jc2.jpghttp://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/index01_h3.gif
คอมพิวเตอร์ยุคที่สาม อยู่ระหย่างปี พ.ศ. 2507 ถึง พ.ศ. 2512 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) โดยวงจรรวมแต่ละตัวจะมีทรานซิสเตอร์บรรจุอยู่ภายในมากมายทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์จะออกแบบซับซ้อนมากขึ้น และสามารถสร้างเป็นโปรแกรมย่อย ๆ ในการกำหนดชุดคำสั่งต่าง ๆ ทางด้านซอฟต์แวร์ก็มีระบบควบคุมที่มีความสามารถสูงทั้งในรูประบบแบ่งเวลาการทำงานให้กับงานหลาย ๆ อย่าง


http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/ic.jpghttp://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/index01_h4.gif
      คอมพิวเตอร์ยุคที่สี่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513 จนถึงปัจจุบัน เป็นยุคของคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวมความจุสูงมาก(Very Large Scale Integration : VLSI) เช่น ไมโครโพรเซสเซอร์ที่บรรจุทรานซิสเตอร์นับหมื่นนับแสนตัว ทำให้ขนาดเครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงสามารถตั้งบนโต๊ะในสำนักงานหรือพกพาเหมือนกระเป๋าหิ้วไปในที่ต่าง ๆ ได้ ขณะเดียวกันระบบซอฟต์แวร์ก็ได้พัฒนาขีดความสามารถสูงขึ้นมาก มีโปรแกรมสำเร็จให้เลือกใช้กันมากทำให้เกิดความสะดวกในการใช้งานอย่างกว้างขวาง
http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/notebook2.gif
http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/index01_h5.gif
           คอมพิวเตอร์ยุคที่ห้า เป็นคอมพิวเตอร์ที่มนุษย์พยายามนำมาเพื่อช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหาให้ดียิ่งขึ้น โดยจะมีการเก็บความรอบรู้ต่าง ๆ เข้าไว้ในเครื่อง สามารถเรียกค้นและดึงความรู้ที่สะสมไว้มาใช้งานให้เป็นประโยชน์ คอมพิวเตอร์ยุคนี้เป็นผลจากวิชาการด้านปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ประเทศต่างๆ ทั่วโลกไม่ว่าจะเป็นสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และประเทศในทวีปยุโรปกำลังสนใจค้นคว้าและพัฒนาทางด้านนี้กันอย่างจริงจัง
http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/system1.gif
การแทนข้อมูล (Data Representation) ในระบบคอมพิวเตอร์

รหัสแทนข้อมูล          

           คอมพิวเตอร์ที่ใช้กันในปัจจุบันเป็นอุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์ที่ทำงานแบบดิจิทัล เมื่อผู้ใช้ป้อนข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์จะทำการแปลงข้อมูลนั้นเป็นเลขฐานสอง (Binary number system) ซึ่งประกอบด้วยเลข และ เลข 1 ซึ่งเรียกว่า รหัสแทนข้อมูล โดยเป็นรหัสที่ใช้แทน ข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งอยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือสื่อบันทึกข้อมูลต่าง ๆ เพื่อให้คอมพิวเตอร์และผู้ใช้สามารถเข้าใจข้อมูลต่าง ๆ ได้

รหัสที่ใช้ในการแทนข้อมูลในปัจจุบันมี 2 กลุ่ม คือ

1. รหัสเอ็บซีดิก (EBCDIC): Extended Binary Coded Decimal Interchange Code) เครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรมของไอบีเอ็มยังคงใช้รหัสนี้
2.
รหัสแอสกี (ASCII: American Standard Code Information Interchange) เป็นมาตรฐานที่นิยมใช้กันมาก ในระบบคอมพิวเตอร์ เป็นรหัส 8 บิท แทนสัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้ 256 ตัว
1. รหัสแทนข้อมูล
          เนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอร์จะสามารถเข้าใจเฉพาะตัวเลขเพียง 2 ตัวเท่านั้น คือ 0 และ 1 ฉะนั้นการที่จะให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจข้อมูลอื่น ๆ ได้นั้น จะต้องมีการใช้รหัสในการแทนข้อมูล
รหัสแทนข้อมูล หมายถึง การนำเอารหัสตัวเลข 0 และ 1 มาแทนตัวอักษร หรือตัวเลข หรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ โดยเป็นรหัสที่ใช้แทนข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งอยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์    และผู้ใช้สามารถเข้าใจข้อมูลต่าง ๆ ได้ ตัวอย่าง เช่น  ตัวอักษร A จะมีรหัสแทนข้อมูล คือ 01000001 เป็นต้น ปัจจุบันนิยมใช้รหัสแอสกี ASCII (American Standard Code for Information Interchange Code) แทนข้อมูลภาษาอังกฤษ ซึ่งเป็นรหัสแทนข้อมูลที่ใช้ในระบบสื่อสารข้อมูลทางโทรคมนาคม และในเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนรหัสแทนอักขระที่เป็นภาษาไทยนั้น ประเทศไทยก็มีใช้รหัสแอสกี เหมือนกัน และจะควบคุม และกำหนดรหัสโดยสำนักงานมาตรฐานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
   2. การวัดขนาดข้อมูลหรือหน่วยวัดความจำ
หน่วยที่ใช้วัดความจำที่เล็กที่สุด คือ ไบต์ (Byte) ซึ่งหมายถึง จำนวนตัวเลขในระบบเลขฐานสองที่ต่อเนื่องกันเป็นกลุ่มแต่ละตัวเรียกว่า บิต (bit) เช่น 01100001 = 8 บิต ก็คือ 1 ไบต์ ประกอบด้วยตัวเลข 0 หรือ เลข 1 จำนวน 8 ตัว เรียงต่อกัน
          ทั้งนี้ ขนาด 1 ไบต์ หรือ 8 บิต จะสามารถใช้แทนข้อมูลที่เป็นตัวอักษร ตัวเลข และสัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้  1 ตัว ซึ่งจำนวน    8 บิต จะใช้แทนตัวอักษร ตัวเลข หรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้เท่ากับ 256 แบบ หรือ เท่ากับ 2
ดังนั้นเราจะวัดขนาดข้อมูลของคอมพิวเตอร์ตามหน่วยวัดข้อมูลได้ดังนี้
8 BIT (
บิต) = 1 Byte (ไบต์)      = 1 ตัวอักษร
1,024 B     = 1 KB (
กิโลไบต์)    = 1,024 ตัวอักษร
1,024 KB  = 1 MB (
เมกะไบต์)   = 1,048,576 ตัวอักษร
1,024 MB  = 1 GB (
กิกะไบต์)    = 1,073,741,824 ตัวอักษร
1,024 GB   = 1 TB (
เทระไบต์)   = 1,099,511,627 ตัวอักษร
          เนื่องจาก คอมพิวเตอร์ทำงานด้วยกระแสไฟฟ้า ดังนั้นจึงมีการแทนที่สภาวะของกระแสไฟฟ้าได้  2 สภาวะ คือ สภาวะที่มีกระแสไฟฟ้า และสภาวะที่ไม่มีกระแสไฟฟ้า และเพื่อให้โปรแกรมเมอร์สามารถสั่งการคอมพิวเตอร์ได้ จึงได้มีการสร้างระบบตัวเลขที่นำมาแทนสภาวะของกระแสไฟฟ้า โดยตัวเลข 0 จะแทนสภาวะไม่มีกระแสไฟฟ้า และเลข 1 แทนสภาวะมีกระแสไฟฟ้า
สภาวะ มีกระแสไฟฟ้า แทนด้วยตัวเลข 1
สภาวะไม่มีกระแสไฟฟ้า แทนด้วยตัวเลข 0
ระบบตัวเลขที่มีจำนวน 2 จำนวน (2 ค่า) เรียกว่าระบบเลขฐานสอง (Binary Number System) ซึ่งเป็นระบบตัวเลข ที่สามารถนำมาใช้ในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ โดยการแทนที่สภาวะต่างๆ ของกระแสไฟฟ้า แต่ในชีวิตประจำวันของคนเราจะคุ้นเคยกับตัวเลขที่มีจำนวน 10 จำนวน คือ เลข 0 – 9 ซึ่งเรียกว่าระบบเลขฐานสิบ (Decimal Number System) ดังนั้นจึงมีความจำเป็นต้องศึกษาระบบเลขฐาน ประกอบการการศึกษาวิชาด้านคอมพิวเตอร์
ระบบจำนวนที่ใช้ในทางคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย
  • ระบบเลขฐานสอง (Binary Number System) ประกอบด้วยตัวเลข 0 และ 1
  • ระบบเลขฐานแปด (Octal Number System) ประกอบด้วยตัวเลข 0 – 7
  • ระบบเลขฐานสิบ (Decimal Number System) ประกอบด้วยตัวเลข 0 – 9
  • ระบบเลขฐานสิบหก (Hexadecimal Number System) ประกอบด้วยตัว เลข 0-9และ A – F
ระบบจำนวน
จำนวนหลัก (Digit)
ฐานสอง
0
1
ฐานแปด
0
1
2
3
4
5
6
7
8
ฐานสิบ
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
ฐานสิบหก
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
A
B
C
D
E
F
รหัสภายในคอมพิวเตอร์ แทนได้กับสภาวะของกระแสไฟฟ้า ตามจำนวนสายสัญญาณ เช่น ถ้ามีสายสัญญาณ 2 เส้น ก็สามารถสร้างรหัสแทนข้อมูลได้ 4 ค่า (คิดจาก 2 ยกกำลัง 2) คือ
สภาวะไฟฟ้า 2 เส้น
รหัสข้อมูล
00
01
10
11
ดังนั้นถ้ามีสายสัญญาณ 8 เส้น ก็สามารถสร้างรหัสแทนข้อมูลได้ จำนวน 28 = 256 ค่า เป็นต้น
สภาวะไฟฟ้า 8 เส้น
รหัสข้อมูล
 http://itnongki.files.wordpress.com/2011/07/e0b88be0b98be0b8a8.png?w=468
00000000
http://itnongki.files.wordpress.com/2011/07/e0b895e0b8b4e0b8941.png?w=468
00000001
http://itnongki.files.wordpress.com/2011/07/e0b895e0b8b4e0b894e0b897e0b8b8e0b881e0b894e0b8a7e0b887.png?w=468
11111111
      บิต (Bit) = สภาวะไฟฟ้า 1 เส้น หรือค่า 0 หรือ 1 แต่ละค่าเรียกว่า บิต (Bit) ซึ่งเป็นคำย่อของ “Binary digit”
     ไบต์ (Byte) = กลุ่มของบิตที่มีความหมายเฉพาะ ก็คือมีสายสัญญาณ 8 เส้น แสดงว่ามีสัญญาณที่สามารถผสมผสานกันได้ 8 บิต เรียกว่า ไบต์ (Byte)

ตัวอย่างในตารางที่แสดงอักขระ, การเรียงกันของบิต และค่าเลขฐาน 10 ที่แทนอักขระ

Character
Bit pattern
Byte
number
Character
Bit pattern
Byte
number
A
01000001
65
10111100
188
B
01000010
66
.
00101110
46
C
01000011
67
:
00111010
58
a
01100001
97
$
00100100
36
b
01100010
98
\
01011100
92
o
01101111
111
~
01111110
126
p
01110000
112
1
00110001
49
q
01110001
113
2
00110010
50
r
01110010
114
9
00111001
57
x
01111000
120
10101001
169
y
01111001
121
> 
00111110
62
z
01111010
122
10001001
137
ดังนั้นถ้าต้องการป้อนคำว่า black จะมีค่าเท่ากับข้อมูลจำนวน 5 ไบต์ ซึ่งมักจะได้ยินว่า 1 ไบต์ เทียบกับ  1 ตัวอักษรนั่นเอง

รหัสแอสกี

     รหัสแอสกี (ASCII) เป็นมาตรฐานที่นิยมใช้กันมากในระบบคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ เป็นคำย่อมาจาก American Standard Code Information Interchange เป็นรหัส 8 บิต แทนสัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้ 256 ตัว  เมื่อใช้แทนตัวอักษรภาษาอังกฤษแล้ว ยังมีเหลืออยู่ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือ สมอ. ได้กำหนดรหัสภาษาไทยเพิ่มลงไปเพื่อให้ใช้งานร่วมกันได้ตามตาราง
ตารางแสดงรหัสเอสกีที่แทนภาษาอังกฤษและภาษาไทย
b7
0
0
0
0
0
0
0
0
1
1
1
1
1
1
1
1
b6
0
0
0
0
1
1
1
1
0
0
0
0
1
1
1
1
b5
0
0
1
1
0
0
1
1
0
0
1
1
0
0
1
1
b4
0
1
0
1
0
1
0
1
0
1
0
1
0
1
0
1
b3
b2
b1
b0
0
0
0
0
@
P
`
p
0
0
0
1
!
A
Q
a
q
0
0
1
0
B
R
b
r
0
0
1
1
#
C
S
c
s
0
1
0
0
$
D
T
d
t
0
1
0
1
%
E
U
e
u
0
1
1
0
&
F
V
f
v
0
1
1
1
G
W
g
w
1
0
0
0
(
H
X
h
x
1
0
0
1
)
I
Y
i
y
1
0
1
0
*
J
Z
j
z
1
0
1
1
+
K
[
k
{
1
1
0
0
,
L
\
l
|
1
1
0
1
-
M
]
m
}
1
1
1
0
.
N
^
n
~
1
1
1
1
/
O
_
o
฿
รหัสเอ็บซีดิก
รหัสเอ็บซีดิก (EBCDIC) เป็นคำย่อมาจาก Extended Binary Coded Decimal Interchange Code พัฒนาและใช้งานโดยบริษัทไอบีเอ็ม เครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรมของไอบีเอ็มยังคงใช้รหัสนี้
การแทนข้อมูลในหน่วยความจำ
หน่วยความจำหลักของคอมพิวเตอร์เป็นที่เก็บข้อมูลและคำสั่งในขณะประมวลผล การเก็บข้อมูลในหน่วยความจำเป็นการเก็บรหัสตัวเลขฐานสอง ข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลทั้งตัวเลขหรือตัวอักษรจะได้รับ  การแทนเป็นตัวเลขฐานสองแล้วเก็บไว้ในหน่วยความจำ เช่น ข้อความว่า BANGKOK เก็บในคอมพิวเตอร์  จะแทนเป็นรหัสเรียงกันไป ดังนี้
หน่วยความจำ
B
01000010
A
01000001
N
01001110
G
01000111
K
01001011
O
01001111
K
01001011
ตัวอย่างการแทนข้อความในหน่วยความจำ
           หน่วยความจำของไมโครคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ในขณะนี้ มีขนาดความกว้าง 8 บิต และเก็บข้อมูลเรียงกันไปโดยมีการกำหนดตำแหน่งซึ่งเรียกว่า เลขที่อยู่ (address)เพื่อให้ข้อมูลที่เก็บมีความถูกต้อง การเขียนหรืออ่านทุกครั้ง  จึงต้องตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล วิธีที่ง่าย และนิยมใช้กันคือการเพิ่มอีก 1 บิต เรียกว่า บิตพาริตี (parity bit) บิตพาริตีที่เพิ่มเติมเข้าไปจะทำให้ข้อมูลทั้งหมดในส่วนนั้น มีเลข 1 เป็นจำนวนคู่ หรือจำนวนคี่ เช่น ในไมโครคอมพิวเตอร์  เพิ่มอีก 1 บิต เพื่อทำให้เลขหนึ่งเป็นจำนวนคู่ เรียกว่าพาริตีคู่ (even parity) บิตพาริตีที่เติมสำหรับข้อมูลตัวอักษร A และ เป็นดังนี้
A 01000001 0 <– บิตพาริตี
E 01000101 1 <– บิตพาริตี
ข้อมูล A           มีเลข 1 สองตัว ซึ่งเป็นจำนวนคู่อยู่แล้ว   ดังนั้นจึงใส่บิตพาริตีเป็นเลข 0
ข้อมูล E           มีเลข 1 เป็นจำนวนคี่   จึงใส่บิตพาริตีเป็น 1 เพื่อให้มีเลข 1 เป็นจำนวนคู่
ข้อความ BANGKOK เมื่อเก็บในหน่วยความจำหลักของไมโครคอมพิวเตอร์ที่มีบิตพาริตีด้วยจะเป็นดังรูป

หน่วยความจำ

บิตพาริตี

B
01000010
0
A
01000001
0
N
01001110
0
G
01000111
0
K
01001011
0
O
01001111
1
K
01001011
0

แสดงตัวอย่างหน่วยที่มีบิตพาริ

การแปลงฐานเลข

การแปลงเลขฐานสิบเป็นเลขฐาน 2 และฐาน 2 เป็นฐาน 10
จงเปลี่ยน   (101111)2  ให้เป็นเลขฐาน 10
วิธีทำ           = ( 1  x  25 )  +  ( 0 x24 )  +  (1 x23 )  +  ( 1 x22 ) + ( 1 x 2) + ( 1 x 20)
=  32 + 0 + 8 + 4 + 2 + 1
=  47
คำตอบคือ  47
ตัวอย่าง   จงเปลี่ยนเลข 47 ฐาน 10  ให้เป็นเลขฐาน 2
วิธีทำ               2 ) 47
2 ) 23   
เศษ 1
2 ) 11    
เศษ1
2 ) 5     
เศษ 1
2 ) 2     
เศษ 1
2 ) 1     
เศษ 0
คำตอบ คือ   (101111)2








  

จงเปรียบเทียบคอมพิวเตอร์ในระบบ Microsoft Windows, Linux และ Apple Macintosh
Internet Explorer 9 มอบประสบการณ์ใช้งานเว็บที่ดีที่สุดสำหรับ Windows นี่คือเหตุผลหลักที่คุณควรดาวน์โหลดไปใช้งานทันที
1การเรียกดูทั่วไปที่รวดเร็ว การเร่งการแสดงผลข้อความ วิดีโอ และกราฟิกด้วยฮาร์ดแวร์จะเร่งประสิทธิภาพการทำงาน และทำให้เว็บไซต์ของคุณมีลักษณะการทำงานคล้ายกับโปรแกรมที่ติดตั้งบนคอมพิวเตอร์ของคุณ
2
การออกแบบเพื่อความคล่องตัวและความสะดวกในการใช้งาน ช่วยให้คุณสามารถควบคุมการทำงานพื้นฐานที่จำเป็นได้ และมุ่งเน้นไปที่การแสดงผลของเว็บ
 3   เข้าถึงไซต์ที่ชื่นชอบได้ในคลิกเดียว ด้วยคุณสมบัติไซต์ที่ตรึงไว้ คุณจึงสามารถเข้าถึงไซต์ต่างๆ ที่คุณชื่นชอบได้โดยตรงจากแถบงานของ Windows โดยไม่จำเป็นต้องเปิดเบราว์เซอร์ก่อน
4
การค้นหาและแถบที่อยู่ที่ใช้งานรวมกัน ไปยังเว็บไซต์หรือเริ่มการค้นหาได้จากที่เดียว
5เพจของแท็บใหม่ได้รับการออกแบบใหม่ ขณะนี้คุณสามารถเข้าถึงไซต์ที่คุณเข้าชมบ่อยๆ ได้อย่างรวดเร็ว และยังสามารถเปิดแท็บที่ปิดไปแล้วขึ้นมาใหม่ เปิดเซสชันการเรียกดูล่าสุดขึ้นมาใหม่ หรือเริ่มใช้เซสชันการเรียกดูแบบ InPrivate ได้
  
 6การผนวกรวมกับ Windows 7 — Internet Explorer 9 และ Windows 7 นำคุณสู่ประสบการณ์ใช้งานเว็บที่ดีที่สุดสำหรับ Windows ด้วย Snap, ไซต์ที่ตรึงไว้, รายการทางลัด และตัวควบคุมการแสดงตัวอย่างรูปขนาดย่อ
7
การจัดการ Add-on ที่ได้รับการปรับปรุง ตัวให้คำแนะนำเกี่ยวกับประสิทธิภาพ Add-on จะแจ้งคุณเมื่อมี Add-on ที่ทำให้ความเร็วเบราว์เซอร์ของคุณลดลง แล้วจึงอนุญาตให้คุณปิดใช้งานหรือเอา Add-on นั้นออกได้ ซึ่งช่วยให้คุณมั่นใจได้ว่าเบราว์เซอร์ของคุณจะมีความเร็วคงที่
8
ช่วยควบคุมความเป็นส่วนตัวของคุณ การป้องกันการติดตามจะช่วยให้คุณจำกัดการสื่อสารของเบราว์เซอร์กับเว็บไซต์บางประเภทเพื่อช่วยรักษาความเป็นส่วนตัวของข้อมูลของคุณ
9
จัดระเบียบการดาวน์โหลดของคุณ ตัวจัดการการดาวน์โหลดทำหน้าที่เก็บรายการที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาของไฟล์ที่คุณดาวน์โหลดจากอินเทอร์เน็ต แจ้งให้คุณทราบหากพบว่าไฟล์อาจเป็นอันตราย และยังช่วยให้คุณหยุดดาวน์โหลดชั่วขณะหรือเริ่มดาวน์โหลดใหม่ได้
Linux 
·  Linux มีซอฟต์แวร์ให้ใช้งานไม่มากนัก ถ้าคุณมีซอฟต์แวร์ซักตัวที่ซื้อมาและจำเป็นต้องใช้แต่คุณจะให้มันทำงานบน Linux นั้นเป็นเรื่องยาก แม้ว่า Linux จะมีซอฟต์แวร์ที่เป็น Opensource จำนวนมาก แต่ความสามารถในการทำงานนั้นยังไม่ดีเท่ากับซอฟต์แวร์ที่จัดจำหน่ายโดยผู้ผลิตซอฟต์แวร์ การเรียนรู้ที่จะใช้ซอฟต์แวร์ใหม่นั้นจำเป็นจะต้องใช้เวลาและความคุ้นเคย ถึงแม้ว่าบน Linux จะมีซอฟต์แวร์ที่ชื่อว่า WINE ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ที่จะสามารถทำให้ซอฟต์แวร์บน Windows ไปให้งานบน Linux หรือ Unix ได้นั้นแต่มีซอฟต์แวร์และอุปกรณ์จำนวนมากที่ไม่สามารถทำงานร่วมกับ WINE ได้ ยิ่งเป็นการเล่นเกมส์นั้นเป็นเรื่องยากสำหรับ Linux เลยก็ว่าได้
·  Linux เวทีนี้ไม่มีพี่เลี้ยง ถ้าคุณต้องการความช่วยเหลือบนโลกอินเตอร์เน็ทเกี่ยวกับปัญหาของคุณในการใช้ Linux การหาความช่วยเหลือนั้นเป็นการยากกว่า Windows มาก ถึงแม้ว่าคุณจะซื้อ Linux มาจากผู้ผลิตซึ่งก็สามารถโทรศัพท์สอบถามปัญหาได้ แต่ถ้าต้องการให้มาบริการถึงบ้านนั้นเป็นเรื่องเพ้อเจ้อถึงแม้จะเป็นเขตเมืองก็ตาม ต่างกับ Windows ที่มีบริการให้และมีผู้จัดจำหน่ายมากมายที่คอยช่วยเหลือคุณ ยิ่งถ้าเป็นการทำธุรกิจการเสียเวลานั้นอาจเป็นความเสียหายทางธุรกิจเลยทีเดียว Linux แต่ละค่ายนั้นก็มีความแตกต่างกันแม้ว่าจะเป็น Linux แต่โครงสร้างของซอฟต์แวร์นั้นก็ต่างกันพอสมควร ผู้ที่จะเปลี่ยนจาก Windows ไปยัง Linux นั้นจะต้องมีความชำนาญและประสบการณ์ในด้านเทคนิคมากพอตัวเลยทีเดียว
·  Linux การเรียนรู้ด้วยตนเอง ถึงแม้ว่า Linux สมัยนี้นั้นจะมีหน้าตาและการใช้งานที่ง่ายแต่การบำรุงรักษา การติดตั้งซอฟต์แวร์นั้น ยังหลีกหนี การใช้งานบรรทัดคำสั่งไปไม่พ้น ซึ่งแค่การใช้งานแบบกราฟิกก็จำเป็นต้องเรียนรู้อย่างมากแล้วสำหรับผู้เริ่มต้น เอกสาร การอบรม และสื่อ ที่จะสอนการใช้งานและบำรุงรักษานั้นเป็นเรื่องหาได้ยากบนโลก Linux ซึ่งต่างจาก Windows อย่างสิ้นเชิงซึ่งมีหนังสือเอกสาร การฝึกอบรมให้คุณหาเรียน หาซื้อได้อย่างมากมาย
·  Linux ยังไม่รองรับ Blu ray Linux นั้นไม่มีซอฟต์แวร์ที่เป็นซอฟต์แวร์เล่นแผ่น Blu ray เหมือนอย่าง WinDVD เนื่องจากมีข้อห้ามไม่ให้พัฒนาซอฟต์แวร์ที่ เล่น Blu-ray บน Linux เพราะปัญหาความยุ่งยากในการพัฒนาและเป็นเรื่องยากที่จะทำการถอดรหัส Blu ray บน Linux ถ้าคุณมี Blu ray จำนวนหนึ่งและจำเป็นจะต้องใช้ความสามารถของ Blu ray คุณจะต้องประสบปัญหานี้อย่างแน่นอน แต่ก็ไม่แน่นอนเสมอไปในอนาคตอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์หรือมีบุคคลพัฒนาขึ้นมาใช้เองอย่างที่เคยมีมา
·  Linux เราเข้ากันไม่ได้ ปัญหาหนึ่งที่ใหญ่มากสำหรับผู้ใช้ Linux และอาจจะต้องพบเจอคือปัญหาด้านการรองรับฮาร์ดแวร์ สำหรับฮาร์ดแวร์เก่าๆนั้นอาจไม่มีปัญหามากนักแต่ก็ยังมีฮาร์ดแวร์จำนวนหนึ่งที่ยังไม่รองรับ การแก้ปัญหาฮาร์ดแวร์ของผู้ใช้ Windows นั้นเป็นเรื่องง่ายกว่า Linux มากการใช้งาน ไดร์เวอร์สำหรับ Linux ก็ไม่มีการรับประกันแต่อย่างใดอีกทั้งอาจไม่สามารถเรียกใช้ความสามารถทั้งหมดของอุปกรณ์ได้ ยิ่งซอฟต์แวร์ บางอย่างที่จำเป้นต้องใช้งานคู่กับฮาร์ดแวร์แล้วยิ่งเป็นปัญหา แต่คุณสามารถตรวจสอบได้ว่าฮาร์ดแวร์ที่คุณจะซื้อนั้นรองรับ Linux หรือไม่โดยการใช้ LiveCD ทดลองใช้งานดูก่อนตัดสินใจซื้อ
·   Apple Macintosh
·   
·               

·                         

วิธีการแปลงเลขฐาน ระหว่างเลขฐานสอง, ฐานแปด, ฐานสิบ และฐานสิบหก


2.1  กล่าวนำ  :  การใช้งานตัวเลขในชีวิตประจำวัน  เราจะใช้เลขฐานสิบในการหาค่าของตัวเลข  เราสามารถจะหาได้โดยวิธีการกระจายดังตัวอย่าง  เช่น
5862    =  5000 + 800 + 60 + 2
หรือ     =  5 x 103 + 8 x 10+ 6 x 10+ 2 x 100
           =  5862
ตัวคูณแต่ละหลัก (Digit) ที่เป็นเลข 10 ยกกำลัง เราเรียกว่า Weight จากตัวอย่างจะได้ค่า  Weight  ดังนี้
ค่า  Weight  =  10      102      101      100         
ในระบบเลขฐาน 10  ตัวเลขที่อยู่หลังจุดทศนิยมเรียกว่า  เลขทศนิยม  จุดทศนิยมนี้เป็นตัวแบ่งส่วนที่เป็นเลขจำนวนเต็ม  และส่วนที่เป็นเลขจุดทศนิยมออกจากกัน  ค่า Weight ของเลขจุดทศนิยม  จะเป็นดังนี้
ค่า Weight  =  10-1     10-2     10-3     10-4
พิจารณาตัวอย่าง  จากจำนวน  5862.512
            ค่า  Weight  =  10    102     101     100  .  10-1     10-2     10-3   
            ค่าจำนวน    =    5        8         6        2   .    5         1         2
คำนวณค่า   =  (5x103) + (8x102) + (6x101) + (2x100) + 5x10-1) + (1x10-2) + 2x10-3)  =  5862.512   
จากที่กล่าวมาข้างต้น  เป็นการหาเลขฐาน 10 จากการหาผลบวกของค่า Weight คูณด้วยเลขประจำหลัก


2.2  เลขฐานที่ใช้กันกับระบบคอมพิวเตอร์
2.2.1  เลขฐานสอง  (binary Number System)  ประกอบใช้กับวงจรอิเล็ก -ทรอนิกส์  เพราะวงจรมีแค่เพียง 2 สถานะ  นอกจากจะแทนด้วย Æ และ 1 แล้ว  ยังสามารถแทนด้วยสิ่งอื่นได้อีก  เช่น  เปิดกับปิด  mark กับ space  สูงกับต่ำ  เป็นต้น
ในระบบเลขฐานสิบ  แต่ละหลักจะมีค่า Weight เป็นเลข 10 ยกกำลัง  แต่ในเลขฐานสองจะมีค่า Weight เป็น  2 ยกกำลัง  ดังรูป  แสดงค่า Weight ของเลขฐานสอง
               210     29       2     27    26   25    24    2   2    20
            1024   512   256   128   64  32   16    8     4     2
                        ตัวอย่าง  :  เลขฐานสองจำนวน  (110110)2    (ในการเขียนเลขฐานต่าง ๆ มักจะเขียนอยู่ในวงเล็บ และมีหมายเลขกำกับอยู่ตอนท้าย  เพื่อไม่ให้สับสน)
            ค่า Weight        =  25     24     23     22     21    20
            เลขฐานสอง      =   1      1      0      1      1      0
            คำนวณค่า         =  (1x25) + (1x24) + (0x23) + 1x22) + (1x21) + (0x20)
                                    =  (54)10
                        สำหรับเลขฐานสองที่มีจุดทศนิยม  ค่า Weight ของเลขจุดทศนิยมในเลขฐานสอง เรียงตามลำดับดังต่อไปนี้
            2-1          2-2          2-3                2-4                  2-5                  2-6
            0.5      0.25       0.125         0.0625          0.03129          0.015625
                       
                        ในระบบเลขฐานสิบ  แต่ละหลักเราเรียกว่า หลัก (Digit)  แต่ในระบบเลขฐานสองเรียกว่า บิต (bit)  ในเลขฐานสองบิตที่มีค่า Weight ต่ำสุด หรือ มีค่านัยสำคัญด้อยที่สุดซึ่งอยู่ทางขวามือ เรียกว่า LSB (Least Significant Bit) และบิตที่มีค่า Weight มากที่สุด  หรือมีค่านัยสำคัญมากที่สุด  ซึ่งอยู่ทางซ้ายมือสุด  เรียกว่า  MSB (Most Significant Bit)  ส่วนในระบบเลขฐานสอง เรียกว่า  LSD (Least Significant Digit)  และ  MSD (Most Significant Digit)
                        2.2.2  เลขฐานแปด  :  ประกอบด้วยเลข 8 ตัว คือ  0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, และ 7  เช่น  (4 5 6)8,  (6 4 3 5)8
                        2.2.3  เลขฐานสิบหก : ประกอบด้วยเลข 16 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, A, B, C, D, E และ F เช่น (51F)16 , (A9E1)16      




2.3  การแปลงเลขฐานของระบบตัวเลข
2.3.1 การแปลงฐานสองเป็นเลขฐานสิบ :
หลักการ : คือการเอาค่า Weight ของทุกบิตที่มีค่าเป็น 1 มาบวกกัน ดังตัวอย่าง
ตัวอย่าง : จงแปลง (11011101)2 ให้เป็นเลขฐานสิบ
(11011101)2    = (1X27) + (1X26) + (0X25) + (1X24) + (1X23)+ (1X22) +
    (0X21) + (1X20)
=  128 + 64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 1
=    (221)10
                       
                        ตัวอย่าง : จงเปลี่ยน (1011.101)2 เป็นเลขฐานสิบ
1
0
1
1
.
1
0
1
ผลลัพธ์ 
2-3
0.125
2-2
0.0
2-1
0.5
-
20
1.
21
2.
22
0.
23
8.










(11.625)10
                       
                        \ (1011.101)2         = (11.625)10


2.3.2        การเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง
หลักการ
1.      ให้นำเลขฐานสิบเป็นตัวตั้งและนำ 2 มาหาร ได้เศษเท่าไรจะเป็นค่าบิตที่มีนัยสำคัญน้อยที่สุด (LSB)
2.       นำผลลัพธ์ที่ได้จากข้อที่ 1 มาตั้งหารด้วย 2 อีกเศษที่จัดจะเป็นบิตถัดไปของเลขฐานสอง
3.    ทำเหมือนข้อ 2 ไปเรื่อยๆ จนได้ผลลัพธ์เป็นศูนย์ เศษที่ได้จะเป็นบิตเลขฐานสองที่มีนัยสำคัญมากที่สุด (MSB)

ตัวอย่าง : จงเปลี่ยน (221)10 เป็นเลขฐานสอง
http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image001.gif                     2  221                     เศษ      1          (LSB)
http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image002.gif  2  110                     เศษ      0
http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image003.gif                      2   55                    เศษ      1
http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image004.gif    2   27                    เศษ      1
    2   13 http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image005.gif                   เศษ      1
    2     6        http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image006.gif           เศษ      0
    2     3        http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image007.gif           เศษ      1
    2     1        http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image008.gif           เศษ      1
                          0                    เศษ      1          (MSB)
\ (221)10         = (11011101)2

วิธีคิดโดยใช้น้ำหนัก (Weight) ของแต่ละบิต
                        ตัวอย่าง   จงเปลี่ยน (221)10         = (……)2
1.      นำค่าน้ำหนัก (Weight) มาตั้ง โดย Weight ที่มีค่ามากที่สุดต้องไม่เกินจำนวนที่จะเปลี่ยนดังนี้
128    64  32  16  8  4  2  1
2.      เลือกค่า Weight ที่มีค่ามากที่สุด และค่า Weight ตัวอื่น ๆ เมื่อนำมารวมกันแล้วให้ได้เท่ากับจำนวนที่ต้องการ
ค่า Weight 128  64  32  16  8  4  2  1
เลือก          128 + 64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 1 = 221
ฐานสอง        1        1    0     1      1    1    0     1
\ (221)10         = (11011101)2

การเปลี่ยนเลขฐานสิบที่มีจุดทศนิยมเป็นเลขฐานสอง
                   หลักการ
1.      ให้เปลี่ยนเลขจำนวนเต็มหน้าจุดทศนิยมด้วยวิธี  ที่กล่าวมาแล้ว
2.   ให้นำเลขจุดทศนิยมมาตั้งแล้วคูณด้วย 2 ผลคูณมีค่าน้อยกว่า 1 จะได้ค่าเลขฐานสองเป็น 0 แต่ถ้าผลคูณมีค่ามากกว่า 1 หรือเท่ากับ 1 จะได้ค่าเลขฐานสองเป็น 1
3.   ให้นำเลขจุดทศนิยมที่ได้จากผลการคูณใน  มาตั้งและคูณด้วย 2 และพิจารณาผลลัพธ์เช่นเดียวกับข้อ  และกระบวนการนี้จะทำต่อไปเรื่อย ๆ จนกว่าผลคูณจะมีค่าเท่ากับ 1 หรือได้ค่าที่แม่นยำเพียงพอแล้ว
ตัวอย่าง : จงเปลี่ยน (0.375)10 เป็นเลขฐานสอง
ผลการคูณ
ผลของจำนวนเต็ม
0.375 X 2 = 0.75
0.75 X 2   = 1.5
0.5 X 2     =  1.0   
0
1
1
            ดังนั้น (0.375)10 = (0.011)2
ตัวอย่าง : จงเปลี่ยน (12.35)10 เป็นฐานสอง
1.      เปลี่ยน (12)10 ให้เป็นเลขฐานสอง
            (12)10 = (1100)2
2. เปลี่ยน (0.35)10 เป็นเลขฐานสอง
ผลการคูณ
ผลของจำนวนเต็ม
0.35 X 2 = 0.7
0.7 X 2   = 1.4
0.4 X 2   = 0.8
0.8 X 2   = 1.6
0.6 X 2   = 1.2
0.2 X 2   = 0.4     
0
1
0
1
1
0
0.4 X 2   =  0.8
0.8 X  2  =  1.6
0
1
การเปลี่ยนจะซ้ำกันไปเรื่อย ๆ จะนำมาใช้เพียง 6 บิต
ดังนั้น (12.35)10 = (1100.010110)2





2.3.3        การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นฐานสิบและเลขฐานสิบเป็นฐานแปด
การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสิบ
            หลักเกณฑ์ :  นำค่าน้ำหนัก (Weight)และเลขฐานแปดคูณด้วยเลข
                                                        ประจำหลักแล้วนำผลที่ได้ทุกหลักมารวมกัน
                                    น้ำหนัก : Weight ได้แก่ …  8 8 82  81  80  8-1  8-2  8-3
            ตัวอย่าง : (134)8 = (…)10
                      (134)8 = (1X82) + (3X81) + (4X80)
                                       =  64 + 24 + 4
                                        =  (92) 10 
            ดังนั้น (134)8 = (92)10
            จุดทศนิยม
   การเปลี่ยนเลขฐานสอบเป็นเลขฐานแปด
            หลักเกณฑ์ : นำเลขฐานสิบเป็นตัวตั้งแล้วหารด้วย 8 เศษที่ได้จากการ
        หารจะเป็นค่าของเลขฐานแปด ทำเช่นเดียวกับการเปลี่ยน
         เลขฐานสิบเป็นฐานสอง
                                    ตัวอย่าง :  (92)10  =  (…)8
http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image009.gifhttp://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image010.gif    8    92       http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image011.gif           เศษ      4
http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image012.gifhttp://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image013.gif    8    11       http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image014.gif           เศษ      3
http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image015.gifhttp://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image016.gif     8     1                  เศษ      1
                0                             
                                                 1    3   4
ดังนั้น (92)10 = (134)8


2.3.4        การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นสองและเลขฐานสองเป็นฐานแปด
การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสอง
หลักการ : จะต้องใช้เลขฐานสิบเป็นตัวกลางในการเปลี่ยน
2

http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image017.gifhttp://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image018.gif
10


8

                

            ตัวอย่าง :  (134)8 = (…)2
1.      เปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสิบ
(134)8 = (1X88) + (3X81) + (4X80)
           = (92)10
2.      เปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง
(92)10 = (…)2
Weight       = 64   32   16    8    4     2    1  
                  = 64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 0
เลขฐาน 2    =  1     0      1     1     1    0    0
                                    ดังนั้น (134)8     = (1011100)2
การเปลี่ยนเลขฐานสองเป็นเลขฐานแปด
หลักการ : จะต้องใช้เลขฐานสิบเป็นตัวกลางในการเปลี่ยน
แปด

http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image019.gif
สิบ


สอง

http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image020.gif                

            ตัวอย่าง :  (1011100)2 = (…)8
1.      เปลี่ยนเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบ
(1011100)2 = 64 + 0 + 16 + 8 + 4 + 0 + 0
                  = (92)10
2.      เปลี่ยนฐานสิบเป็นเลขฐานแปด
http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image021.gifhttp://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image022.gif    8    92       http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image023.gif           เศษ      4
http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image024.gifhttp://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image025.gif     8    11       http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image026.gif           เศษ      3
http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image027.gifhttp://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image028.gif     8     1                  เศษ      1
                0                             
                                                 1    3   4
            ดังนั้น (1011100)2 = (134)8

การเปลี่ยนเลขฐานสองเป็นเลขฐานแปดและฐานแปดเป็นเลขฐานสอง วิธีลัด
เลขฐานแปด
เลขฐานสอง
0
1
2
3
4
5
6
7
000
001
010
011
100
101
110
111
                        ตารางเปรียบเทียบเลขฐานแปดและเลขฐานสอง
                        จากตารางจะเห็นว่าเลขฐานแปดหนึ่งหลักสามารถแทนด้วยเลขฐานสองจำนวน 3 บิต
                        ตัวอย่าง : จงแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานแปด
                                        (1011100) 2 =  (…)8
                                                วิธีทำ :              001      011      100
http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image029.gif
http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image030.gif
http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image031.gif
 

                                                  1           3          4
                        ดังนั้น     (1011100) 2 =  (134)8
                       
                        ตัวอย่าง  เปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสอง
                                      (6143)8 = (…)2


http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image032.gifhttp://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image033.gifhttp://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image034.gifhttp://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image035.gif                        วิธีทำ                6          1          4          3

                                               110       001     100       011
                        ดังนั้น  (6143)8 = (110001100011)2




                        2.3.5 การเปลี่ยนเลขฐานสิบหกเป็นฐานสิบและเลขฐานสิบเป็นฐานสิบหก
                                  การเปลี่ยนเลขฐานสิบหกเป็นเลขฐานสิบ     
                                  หลักการ : นำค่าน้ำหนัก (Weight) ของเลขฐานสิบหกคูณด้วยเลขประจำ
 หลัก และนำผลที่ได้ทุกหลักมารวมกัน
                                  น้ำหนัก (Weight) : … 16 163   162  161  160  16-1 16-2 16-3
                                   ตัวอย่าง   (6C)16 = (…)10
                                                (6C)16   = (5X161) + (12X160)
                                                            = 80 + 12
                                                            = (92)10
                                    ดังนั้น    (6C)16   = (92)10
                                                                        ตัวอย่าง (0.3)16  = (…)10
(0.3)16 = 3X10-1
= 3X0.0625
                                                            = (0.1875)10
                                    ดังนั้น    (0.3)16  = (0.1878)10

การเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสิบหก
            หลักการ : นำเลขฐานสิบมาเป็นตัวตั้งแล้วนำ 16 มาหาร เศษที่ได้จากการหาร จะเป็นค่า
    เลขฐานสิบหก ทำเช่นเดียวกับการเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง
            ตัวอย่าง :  (92)10 = (…)16
http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image036.gifhttp://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image037.gifhttp://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image038.gif                        วิธีทำ :                     16   92                     เศษ 12 =C
http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image039.gifhttp://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image040.gifhttp://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image041.gif  16    5                     เศษ        5
    
                                                                                                     
        5    C
                        ดังนั้น (92)10 = (5C)16
            ตัวอย่าง             (0.7875)10                =          (….)16
                        วิธีทำ              
ผลการคูณ
ผลของจำนวนเต็ม
0.7875 X 16  = 12.6
0.6 X 16        = 9.6
12 = C
9
0.6 X 16        = 9.6
0.6 X 16        = 9.6
9
9
            ดังนั้น (0.7875)10 = (0.C9)16




            2.3.6 การเปลี่ยนเลขฐานสองเป็นฐานสิบหก และฐานสิบหกเป็นฐานสอง
                       การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสอง
                        หลักการ :  จะต้องใช้เลขฐานสิบเป็นตัวกลาง 
http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image042.gif
สอง


สิบ


สิบหก

http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image043.gif  

                        ตัวอย่าง :  (5C)16 = (…)2
                                    1. เปลี่ยนเลขฐานสิบหกเป็นเลขฐานสิบ
                                         (5C)16          = (5X161) + (12X160)
                                                            = 80 + 12
                                                            = (92)10
                                    2. เปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสอง
                                         (92)10          = (…)2
                                          Weight       = 64  32  16  8  4  2  1
                                                                64 + 0 + 16 +  8 + 4 + 0 + 0
                                           เลขฐานสอง =  1     0     1      1     1    0     0 
                                           ดังนั้น (5C)16          = (1011100)2

การเปลี่ยนเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบหก
            หลักการ : ต้องใช้เลขฐานสิบเป็นตัวกลาง
ตัวอย่าง :  (1011100)2 = (…)16
                                    1. เปลี่ยน (1011100)2เป็นเลขฐานสิบ
                                         (1011100)2 = (92)10
                                    2. เปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสิบหก
http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image044.gifhttp://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image045.gifhttp://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image046.gif16   92            เศษ 12 =C
http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image047.gifhttp://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image048.gifhttp://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image049.gif16    5             เศษ        5
                                                         0            
                                                                                              5    C
                                           ดังนั้น (1011100)2  = (5C)16

การเปลี่ยนเลขฐานสิบหกเป็นฐานสองและเลขฐานสองเป็นฐานสิบหกวิธีลัด
เลขฐานแปด
เลขฐานสอง
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
A
B
C
D
E
F
0000
0001
0010
0011
0100
0101
0110
0111
1000
1001
1010
1011
1100
1101
1110
1111
          ตารางเปรียบเทียบเลขฐานสิบหกกับเลขฐานสอง  
จากตารางจะเห็นว่า เลขฐานสิบหกหนึ่งหลักสามารถจะแทนด้วยเลขฐานสองจำนวน 4 บิต


ตัวอย่าง จงเปลี่ยน (1011100)2 เป็นเลขฐานสิบหก
http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image050.gifhttp://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image051.gifวิธีทำ    0101    1100
           
http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image052.gifhttp://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image053.gif               5          12
          
                5            C                    
            ดังนั้น (1011100)2 = (5C)16
ตัวอย่าง  จงเปลี่ยน (1011110111011)2 เป็นเลขฐานสิบหก
http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image054.gifhttp://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image055.gifhttp://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image056.gifhttp://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image057.gifวิธีทำ    0001    0111    1011    1011

http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image058.gifhttp://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image059.gifhttp://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image060.gifhttp://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image061.gif                1          7          11        11      

                  1         7            B         B   
               ดังนั้น (1011110111011)2 = (17BB)16
ตัวอย่าง จงเปลี่ยน (A95)16 เป็นเลขฐานสอง
http://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image062.gifhttp://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image063.gifhttp://web.yru.ac.th/~nipon/Digital/chapter2/index.files/image064.gifวิธีทำ                  A        9           5

                        1010    1001    0101
            ดังนั้น (A95)16 = (101010010101)2

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น